วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558

                   


รายงานเรื่อง นิราศนรินทร์คำโคลง

เสนอ

อาจารย์ มาลัย รอดประดิษฐ์

จัดทำโดย

คณะกลุ่มที่๔ ชั้นมัธยมศึษาปีที่๔/๔


โรงเรียนถาวรานุกูล
จังหวัดสมุทรสงคราม

บทที่4 เรื่อง นิราศนริทร์คำโคลง

นิราศนรินทร์เป็นบทประพันธ์ประเภทนิราศคำโคลงที่โด่งดังที่สุดในยุครัตนโกสินทร์ ทัดเทียมได้กับ"กำสรวลศรีปราชญ์ "และ"ทวาทศมาส"ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผู้แต่งคือ นายนรินทร์ธิเบศร์(อิน) แต่งขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จ กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ไปทัพพม่าในสมัยรัชกาลที่สอง ไม่มีบันทึกถึงประวัติของผู้แต่งไว้ ทราบแต่ว่าเป็นข้าราชการ ตำแหน่ง มหาดเล็กหุ้มแพรในกรมพระราชวังบวรฯ และมีผลงานที่ปรากฏนอกจากนิราศเรื่องนี้ เป็นเพลงยาวอีกบทหนึ่งเท่านั้น แต่แม้จะมีผลงานเพียงน้อยนิด แต่ อ่านเพิ่มเติม

  


บทที่3 เรื่อง นิทานเวตาล(เรื่องที่10)


เวตาลเป็นอมนุษย์ชนิดหนึ่ง  ในเรื่องกล่าวว่าเป็นศพ แต่เป็นศพที่พูดได้การที่จะเอาตัวเวตาลมาได้นั้น จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขอันหนึ่งคือ  ต้องไม่ตรัสอะไรเลย มิฉะนั้นเวตาลก็จะลอยจากไปกลับไปแขวนอยู่ที่ต้นอโศกตามเดิม  อ่านเพิ่มเติม

บทที่2 เรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิ

ครั้นแล้วท้าวกะหมังกุหนิงเสด็จนั่งที่ประทับที่ประดับด้วยมณีทั้งหลาย พระองค์มองเห็นถึงพระอนุชาทั้ง ๒ คน จึงเรียกให้มานั่งที่ประทับพูดคุยกันอย่างสนุกสนาน ครั้นแล้วจึงความเป็นไปของบ้านเมือง และบอกถึงความประสงค์ของตนว่าที่เรียกอนุชาทั้ง 2 มาเพื่อจะให้ช่วยไปตีเมืองดาหาขอให้ทั้งสอง ช่วยตีเมืองให้ได้ชัยชนะเร็วไว เจ้า อ่านเพิ่มเติม




บทที่1 คำนมัสการคุณานุคุณ
     คำนมัสการคุณานุคุณ  ผลงานการประพันธ์ของ  พระยาศรีสุนทรโวหาร  (น้อย  อาจารยางกูร)  มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกในคุณงามความดีของพระพุทธ  พระธรรม  พระสงฆ์  บิดามารดา  และครูอาจารย์  โดยมีความมุ่งหมายที่จะให้ผู้อ่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทยตั้งอยู่ในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน